วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้านชีวะวิทยา :การสืบพันธุ์ของพืชและสัตว์
มีทั้งหมด 164 ข้อ แต่ทำได้แค่ 100 ข้อก็ง่วงซะก่อน
เรื่องพืชยากจริงๆ มีหลายข้อเลยที่ไม่รู้ว่ามันเอาเนื้อหาจากไหนมาถามวะ ในหนังสือกรูไม่เห็นมี 5555
สับขาหลอกก็เยอะ แต่เรื่องสัตว์มันไม่ซับซ้อนมาก พอถูไถได้อยู่
เรื่องพืชยากจริงๆ มีหลายข้อเลยที่ไม่รู้ว่ามันเอาเนื้อหาจากไหนมาถามวะ ในหนังสือกรูไม่เห็นมี 5555
สับขาหลอกก็เยอะ แต่เรื่องสัตว์มันไม่ซับซ้อนมาก พอถูไถได้อยู่
วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้านภาษาอังกฤษ past simple ( I did)
วันนี้ทำเรื่อง Past Simple นะครับ เป็น Tense ที่เราพบได้บ่อยๆมากๆ
เพราะใช้ในการเล่าเรื่องราวที่ผ่านมาแล้ว จบไปแล้ว
ที่น่าสนใจสำหรับ Tense นี้ก็คือ การใช้ Regular Verb (กริยาเติม -ed)
แต่ก็มีกริยาบางตัวที่เป็น irregular verb คือผันไปอีกอย่างเลย ไม่เติม -ed หรือคงรูป base form ไว้ ไม่ผันไปไหนเลยก็ได้ ที่พบได้บ่อยๆ เช่น
write -> wrote
see -> saw
go -> went
shut -> shut
teach -> taught
sell->sold
cost->cost
catch->caught
win->won
drink->drank
ส่วนถ้าเป็นประโยคคำถาม หรือ ปฎิเสธ ให้ใช้ Did/didn't เข้าช่วย
และจำไว้ว่า กริยาที่ตามหลัง did ต้องเป็น infinitive verb เท่านั้น (base form verb) -->กริยารูปพื้นฐาน ไม่ผัน ไม่เติม -ed นั่นเอง
เพราะใช้ในการเล่าเรื่องราวที่ผ่านมาแล้ว จบไปแล้ว
ที่น่าสนใจสำหรับ Tense นี้ก็คือ การใช้ Regular Verb (กริยาเติม -ed)
แต่ก็มีกริยาบางตัวที่เป็น irregular verb คือผันไปอีกอย่างเลย ไม่เติม -ed หรือคงรูป base form ไว้ ไม่ผันไปไหนเลยก็ได้ ที่พบได้บ่อยๆ เช่น
write -> wrote
see -> saw
go -> went
shut -> shut
teach -> taught
sell->sold
cost->cost
catch->caught
win->won
drink->drank
ส่วนถ้าเป็นประโยคคำถาม หรือ ปฎิเสธ ให้ใช้ Did/didn't เข้าช่วย
และจำไว้ว่า กริยาที่ตามหลัง did ต้องเป็น infinitive verb เท่านั้น (base form verb) -->กริยารูปพื้นฐาน ไม่ผัน ไม่เติม -ed นั่นเอง
วันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้านภาษาอังกฤษ เ้รื่อง Present Continuous
ช่วงนี้ขอทำการบ้านภาษาอังกฤษไปก่อนนะครับ จัดการเวลาไม่ได้เลย สัปดาห์หน้าเป็นต้นไป จะมุ่งเรียนอย่างเดียวแล้ว อย่างอื่นไม่สน
เรื่องนี้ เกี่ยวกับ Present Continuous ปกติจะเป็น is/am/are + Ving แต่ว่าจะมีบางคำที่ไม่ต้องเติม ing เพราะมันไม่ใช่ Action Verb คือไม่สามารถมองออกว่ากำลังทำอยู่ เช่น see , believe , need,prefer, remember, belog, contain, consist, depend, seem,want, hate, like, know, relise, suppose, mean
ส่วนคำี่ที่แสดงอาการของคนอย่าง selfish หรือ silly ถ้าจะใช้รูปคอนตินิวอัส ให้เติม being ไปข้างหน้า เืพื่อหมายความว่าเค้ากำลังเป็นอย่างนั้น ในขณะที่พูด แต่ถ้าเป็นสันดานเดิมอยู่แล้ว ไม่ต้องเติม being ให้ใช้ Present simple ได้เลย
และกริยาอย่าง see,hear smell ,taste กริยาพวกนี้มีความหมายว่าทำในขณะที่พูดอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเติม ing อีกเวลาใช้งาน
เรื่องนี้ เกี่ยวกับ Present Continuous ปกติจะเป็น is/am/are + Ving แต่ว่าจะมีบางคำที่ไม่ต้องเติม ing เพราะมันไม่ใช่ Action Verb คือไม่สามารถมองออกว่ากำลังทำอยู่ เช่น see , believe , need,prefer, remember, belog, contain, consist, depend, seem,want, hate, like, know, relise, suppose, mean
ส่วนคำี่ที่แสดงอาการของคนอย่าง selfish หรือ silly ถ้าจะใช้รูปคอนตินิวอัส ให้เติม being ไปข้างหน้า เืพื่อหมายความว่าเค้ากำลังเป็นอย่างนั้น ในขณะที่พูด แต่ถ้าเป็นสันดานเดิมอยู่แล้ว ไม่ต้องเติม being ให้ใช้ Present simple ได้เลย
และกริยาอย่าง see,hear smell ,taste กริยาพวกนี้มีความหมายว่าทำในขณะที่พูดอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเติม ing อีกเวลาใช้งาน
วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้านภาษาอังกฤษ Present Simple และ Present Continuouse
วันนี้ขอส่งการบ้านภาษาอังกฤษอีกวัน เป็นการเรียนรู้เรื่อง ความแตกต่างระหว่าง Present Simple กับ Present Continuous ว่าแตกต่างกันอย่างไร โดยสรุปได้ดังนี้
Present Simple จะใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นประจำๆ แบบไม่มีอะไรผิดปกติ หรือเป็นการกล่าวถึงอะไรทั่วๆไป ที่ไมได้ระบุเจาะจงกาลเวลา หรือไม่ก็บอกถึงเหตุการณ์ที่เป็นความจริงเสมอ เช่น ผู้ชายต้องเป็นสามี ผู้หญิงต้องเป็นภรรยา หรือ พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเป็นต้น
Present Continuous ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะที่พูด หรือเป็นเหตุการณ์ทำซ้ำๆ ที่รู้สึกว่ามากผิดปกติ เช่น เธอมักจะทำของหาย (คนปกติไม่ทำของหาย) หรือถ้าไม่ได้เกิดขึ้นขณะที่พูด แต่มันเกิดในช่วงเวลาใกล้ๆ ก็ใช้ได้เหมือนกัน
วันจันทร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2554
สรุปผลการประชุมสังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานสอบสวนโรค ครั้งที่ 2
สรุปผลการประชุม สังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานสอบสวนโรค
วันที่ 11 มีนาคม 2553 ณ ห้องประชุมกาสะลอง อาคาร 1 ชั้น 3 สคร.6
มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 25 คน โดยเป็นตัวแทนจากงานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 7 จังหวัด และเจ้าหน้าที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จ.ขอนแก่น (จังหวัดที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้คือ จ.หนองคาย)
ผลการประชุม
วาระที่ 1 พิจารณาโรคที่จะทำการสังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานสอบสวนโรค
จากการประชุมครั้งแรกคณะทำงานได้ตกลงกันว่าจะทำการสังเคราะห์องค์ความรู้ จำนวน 2 โรคได้แก่ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และ โรคเลปโตสไปโรซิส แต่เนื่องจากการตรวจสอบจำนวนรายงานสอบสวนพบว่า จำนวนรายงานสอบสวนโรคเลปโตสไปโรซิส มี 117 ฉบับ ส่วนรายงานสอบสวนโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 มีเพียง 30 ฉบับ ซึ่งมีจำนวนน้อยมาก การนำเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์องค์ความรู้อาจไม่เหมาะสม จึงเสนอให้ที่ประชุมทำการสังเคราะห์องค์ความรู้เพียงเรื่องเดียวคือ โรคเลปโตสไปโรซิส ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
วาระที่ 2 พิจารณาตัวแปรในร่างเครื่องมือเก็บข้อมูลจากรายงานสอบสวนโรค
คณะทำงานสังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานสอบสวนโรค ของกลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น นำเสนอร่างเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากรายงานสอบสวนโรค โดยให้คณะกรรมการในระดับจังหวัดเป็นผู้พิจารณาว่าตัวแปรใดที่จะคงไว้ หรือตัดออกหรือเพิ่มเติมบ้าง ซึ่งภายหลังจากการประชุม คณะทำงานของสคร.6 จะส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครั้ง ก่อนที่จะดำเนินการเก็บข้อมูลต่อไปในเดือนพฤษภาคม 2554 โดยรูปแบบการเก็บข้อมูลจะใช้แบบ Double-check Peer Review
ตัวแปรที่ได้จากการพิจารณา
การตั้งกรอบการศึกษา :
1.ข้อมูลทั่วไป เพศ อายุ อาชีพ ที่อยู่
2.ข้อมูลการป่วย :
วันเริ่มป่วย วันพบผู้ป่วย วันรักษา
ประเภทผู้ป่วย
เฉพาะราย หรือระบาด
อาการนำ(ไข้,ปวดกล้ามเนื้อ)
อาการ/อาการแสดง(เอาหมด)
โรคแทรกซ้อน (เปิด)
โรคประจำตัว (เปิด)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (เปิด)
ประวัติการเจ็บป่วยในหมู่บ้านย้อนหลัง5ปี
(มี,ไม่มี,ไม่ทราบ)--ถ้ามี
3.ข้อมูลการรักษา
การรักษาครั้งแรก(ซื้อยากินเอง,ไปคลินิค,ไปรพสต,รพช,รพท,รพศ)การรักษาครั้งครั้งต่อๆไปเปิดไว้ 4 ครั้ง(ใช้ตัวเลือกเดียวกันหมด)
วันที่เสียชีวิต
(เริ่มป่วยป่วย-ค้นพบผู้ป่วย)Early Detect
(ระยะเวลาจากเริ่มป่วย-วินิจฉัย)Early Diag
(ระยะเวลาจากเริ่มป่วย-รักษา)Early Treatment
(ระยะเวลาจากรักษา-เสียชีวิต)
ผลการรักษา (หาย,ตาย,ไม่ทราบ)
4.ข้อมูลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
-Lab พื้นฐาน
-CBC(hct,wbc,plt)
-UA (Albumin)
-Neutrophile,Lymphocyte
BUN,creatinine,LFT,
-Screening(+,-)
-Confirm (IFA,LA,MAT,ELISA,PCR,Culture)
5.ข้อมูลพฤติกรรมเสี่ยง
พื้นที่สัมผัสโรค (ในพื้นที่,นอกพื้นที่,ไม่ทราบ)
การมีบาดแผล(ขนาด,ตำแหน่ง,ลักษณะ)
(เปิดช่วงเวลามีแผลก่อนเกิดโรคไว้)
การแช่น้ำจากการประกอบอาชีพ
การสัมผัสแหล่งน้ำชื้นแฉะ
ระยะเวลาการแช่น้ำ (ประจำ,ครั้งคราว,ระบุชั่วโมง)
การสวมอุปกรณ์ป้องกัน
การลงเล่นน้ำ
การเลี้ยงสัตว์/การใกล้ชิดกับสัตว์เลี้ยง
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร(กินอาหารค้างคืน/ค้างมื้อ,การเก็บรักษาอาหาร)
6.ข้อมูลสิ่งแวดล้อม
สภาพแวดล้อมโดยรวมในพื้นที่
ที่ราบ
มีแหล่งน้ำ/คู/คลอง/หนองน้ำ/แม่น้ำ
การปลูกพืชในพื้นที่ (ข้าว/อ้อย/ยางพารา
มันสำปะหลัง/ข้าวโพด/ยาสูบ/ผัก)
สภาพที่อยู่อาศัย
สภาพที่ประกอบอาชีพ
การเลี้ยงสัตว์ในบ้าน/มีคอกสัตว์ใกล้บ้าน
การเจ็บป่วยของสัตว์ในพื้นที่
7.คุณภาพการเขียนรายงานสอบสวน (แยกเป็น 2 กลุ่ม finalและfull)
ข้อมูลทั่วไป (ประเภทรายงาน,วิธีการศึกษา,สถิติที่ใช้,)
ใช้ item ตัดสินทุกไอเทมว่าผ่านหรือไม่ผ่าน
การกำหนดวัตถุประสงค์
การสรุปผล
8.คุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
-ตามแนวทางการประเมินมาตรฐาน SRRT
-ความทันเวลา (Early Control)
-มาตรการ
-การค้นหาผู้ป่วยในชุมชน
-การค้นหาสาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
-การควบคุมโรคได้ใน 2 Generation
วันที่ 11 มีนาคม 2553 ณ ห้องประชุมกาสะลอง อาคาร 1 ชั้น 3 สคร.6
มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 25 คน โดยเป็นตัวแทนจากงานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 7 จังหวัด และเจ้าหน้าที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จ.ขอนแก่น (จังหวัดที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้คือ จ.หนองคาย)
ผลการประชุม
วาระที่ 1 พิจารณาโรคที่จะทำการสังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานสอบสวนโรค
จากการประชุมครั้งแรกคณะทำงานได้ตกลงกันว่าจะทำการสังเคราะห์องค์ความรู้ จำนวน 2 โรคได้แก่ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และ โรคเลปโตสไปโรซิส แต่เนื่องจากการตรวจสอบจำนวนรายงานสอบสวนพบว่า จำนวนรายงานสอบสวนโรคเลปโตสไปโรซิส มี 117 ฉบับ ส่วนรายงานสอบสวนโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 มีเพียง 30 ฉบับ ซึ่งมีจำนวนน้อยมาก การนำเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์องค์ความรู้อาจไม่เหมาะสม จึงเสนอให้ที่ประชุมทำการสังเคราะห์องค์ความรู้เพียงเรื่องเดียวคือ โรคเลปโตสไปโรซิส ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
วาระที่ 2 พิจารณาตัวแปรในร่างเครื่องมือเก็บข้อมูลจากรายงานสอบสวนโรค
คณะทำงานสังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานสอบสวนโรค ของกลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น นำเสนอร่างเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากรายงานสอบสวนโรค โดยให้คณะกรรมการในระดับจังหวัดเป็นผู้พิจารณาว่าตัวแปรใดที่จะคงไว้ หรือตัดออกหรือเพิ่มเติมบ้าง ซึ่งภายหลังจากการประชุม คณะทำงานของสคร.6 จะส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครั้ง ก่อนที่จะดำเนินการเก็บข้อมูลต่อไปในเดือนพฤษภาคม 2554 โดยรูปแบบการเก็บข้อมูลจะใช้แบบ Double-check Peer Review
ตัวแปรที่ได้จากการพิจารณา
การตั้งกรอบการศึกษา :
1.ข้อมูลทั่วไป เพศ อายุ อาชีพ ที่อยู่
2.ข้อมูลการป่วย :
วันเริ่มป่วย วันพบผู้ป่วย วันรักษา
ประเภทผู้ป่วย
เฉพาะราย หรือระบาด
อาการนำ(ไข้,ปวดกล้ามเนื้อ)
อาการ/อาการแสดง(เอาหมด)
โรคแทรกซ้อน (เปิด)
โรคประจำตัว (เปิด)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (เปิด)
ประวัติการเจ็บป่วยในหมู่บ้านย้อนหลัง5ปี
(มี,ไม่มี,ไม่ทราบ)--ถ้ามี
3.ข้อมูลการรักษา
การรักษาครั้งแรก(ซื้อยากินเอง,ไปคลินิค,ไปรพสต,รพช,รพท,รพศ)การรักษาครั้งครั้งต่อๆไปเปิดไว้ 4 ครั้ง(ใช้ตัวเลือกเดียวกันหมด)
วันที่เสียชีวิต
(เริ่มป่วยป่วย-ค้นพบผู้ป่วย)Early Detect
(ระยะเวลาจากเริ่มป่วย-วินิจฉัย)Early Diag
(ระยะเวลาจากเริ่มป่วย-รักษา)Early Treatment
(ระยะเวลาจากรักษา-เสียชีวิต)
ผลการรักษา (หาย,ตาย,ไม่ทราบ)
4.ข้อมูลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
-Lab พื้นฐาน
-CBC(hct,wbc,plt)
-UA (Albumin)
-Neutrophile,Lymphocyte
BUN,creatinine,LFT,
-Screening(+,-)
-Confirm (IFA,LA,MAT,ELISA,PCR,Culture)
5.ข้อมูลพฤติกรรมเสี่ยง
พื้นที่สัมผัสโรค (ในพื้นที่,นอกพื้นที่,ไม่ทราบ)
การมีบาดแผล(ขนาด,ตำแหน่ง,ลักษณะ)
(เปิดช่วงเวลามีแผลก่อนเกิดโรคไว้)
การแช่น้ำจากการประกอบอาชีพ
การสัมผัสแหล่งน้ำชื้นแฉะ
ระยะเวลาการแช่น้ำ (ประจำ,ครั้งคราว,ระบุชั่วโมง)
การสวมอุปกรณ์ป้องกัน
การลงเล่นน้ำ
การเลี้ยงสัตว์/การใกล้ชิดกับสัตว์เลี้ยง
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร(กินอาหารค้างคืน/ค้างมื้อ,การเก็บรักษาอาหาร)
6.ข้อมูลสิ่งแวดล้อม
สภาพแวดล้อมโดยรวมในพื้นที่
ที่ราบ
มีแหล่งน้ำ/คู/คลอง/หนองน้ำ/แม่น้ำ
การปลูกพืชในพื้นที่ (ข้าว/อ้อย/ยางพารา
มันสำปะหลัง/ข้าวโพด/ยาสูบ/ผัก)
สภาพที่อยู่อาศัย
สภาพที่ประกอบอาชีพ
การเลี้ยงสัตว์ในบ้าน/มีคอกสัตว์ใกล้บ้าน
การเจ็บป่วยของสัตว์ในพื้นที่
7.คุณภาพการเขียนรายงานสอบสวน (แยกเป็น 2 กลุ่ม finalและfull)
ข้อมูลทั่วไป (ประเภทรายงาน,วิธีการศึกษา,สถิติที่ใช้,)
ใช้ item ตัดสินทุกไอเทมว่าผ่านหรือไม่ผ่าน
การกำหนดวัตถุประสงค์
การสรุปผล
8.คุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
-ตามแนวทางการประเมินมาตรฐาน SRRT
-ความทันเวลา (Early Control)
-มาตรการ
-การค้นหาผู้ป่วยในชุมชน
-การค้นหาสาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
-การควบคุมโรคได้ใน 2 Generation
ส่งการบ้าน ภาษาอังกฤษ Present Simple
วันนี้ส่งเรื่อง Present Simple นะครับ
ที่ได้เรียนรู้คือ
ที่ได้เรียนรู้คือ
- ใช้กับเหตุการณ์ทั่วไป ที่เกิดขึ้นจริง เป็นธรรมชาติของมัน
- ใช้กับเหตุการณ์ที่ทำอยู่เป็นประจำ ไม่ว่าจะทำถี่ๆ หรือ ทำห่างๆ ก็ได้
- ประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเติม S เสมอ ยกเว้น I ไำม่ต้องเติม
- ถ้าเป็นคำถาม ที่ขึ้นต้นด้วย What When Where Do Does กริยาในคำถามไม่ต้องเิติม S แล้ว ถึงประธานจะเป็นพหูพจน์
- I suggest , I insist , I recommend , I promist , I agree ..that.. ใช้รูปนี้ไปได้เลย
วันอาทิตย์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้าน ชีววิทยา : การหายใจ ต่อจากเมื่อวาน
วันพฤหัสบดีที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้าน ชีววิทยา : การหายใจ
วันพุธที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้าน ชีววิทยา ระบบลำเีลียง
วันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้าน ชีววิทยา เรื่อง "ระบบย่อยอาหาร"
วันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันอาทิตย์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2554
ส่งการบ้านจำนวนเชิงซ้อน ตอนที่ 3
วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)